แนวข้อสอบเสมียนพิมพ์ดีด กรมการสัตว์ทหารบก
สำหรับท่านที่ อยากเตรียมสอบ
สอบเสมียนพิมพ์ดีด กรมการสัตว์ทหารบก
หา คู่มือสอบเสมียนพิมพ์ดีด กรมการสัตว์ทหารบก
หนังสือสอบเสมียนพิมพ์ดีด กรมการสัตว์ทหารบก
ทาง NUDSOB ได้รวบรวม แบ่งปัน
ตัวอย่าง ข้อสอบเสมียนพิมพ์ดีด กรมการสัตว์ทหารบก
เพื่อเป็นความรู้ และแนวทางในการสอบให้กับทุกๆท่าน
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
1. ข้อใดคือหนังสือราชการ
ก. เอกสารของทางราชการ ข. เอกสารโต้ตอบในราชการ
ค. เอกสารที่ทางราชการทำขึ้น ง. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
ตอบ ง. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
2. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ได้ในกรณีใด
ก. คำแนะนำ
ข. แถลงการณ์
ค. หนังสือที่ไม่เกี่ยวกับราชการ
ง. การส่งของเอกสาร หรือ บรรสารระหว่างส่วนราชการ
ตอบ ง. การส่งของเอกสาร หรือ บรรสารระหว่างส่วนราชการ
3. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นให้ใช้คำว่าอะไร
ก. เรียน ข. เสนอ
ค. กราบเรียน ง. ขอประธานกราบเรียน
ตอบ ก. เรียน
4. “งานสารบรรณ” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. งานที่เกี่ยวกับระเบียบการร่างโต้ตอบหนังสือและเสนอความคิดเห็น
ข. งานที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารงานเอกสาร
ค. งานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกหน่วย
ง. งานที่ทำด้วยหนังสือนับตั้งแต่คิดร่าง , เขียน , แต่งพิมพ์ , จดจำ , ทำสำเนา , ส่งรับ, บันทึก ,
ย่อเรื่องเสนอ ,สั่งการ , ตอบ , เก็บเข้าที่และค้นหา
ตอบ ข. งานที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารงานเอกสาร
5. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมี 6 ชนิด คือข้อใด
ก. หนังสือภายใน , หนังสือภายนอก , หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวง, ส่วนราชการมีถึง
บุคคลภายนอก และหนังสือที่ลงรับไว้เป็นหลักฐานแล้ว
ข. หนังสือภายใน , หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ , หนังสือสั่งการและโฆษณาหนังสือ
ราชการที่ส่งออก และหนังสือราชการสำคัญเกี่ยวกับการเงิน
ค. หนังสือภายนอก , หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ , หนังสือสั่งการ
โฆษณา และหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไส้เป็นหลักฐาน
ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ง. ผิดทุกข้อ
6. กรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
ก. 2 คน ข. 3 คน
ค. 4 คน ง. เท่าใดก็ได้
ตอบ ข. 3 คน
7. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำลงท้ายให้ใช้คำว่าอะไร
ก. ขอแสดงความนับถือ ข. ของแสดงความเคารพนับถือ
ค. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ง. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ตอบ ก. ขอแสดงความนับถือ
8. ระเบียบสำนักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณฉบับฉบับที่ 2 มีการแก้ไขมาตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ข. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516
ค. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2548 ง. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2548
ตอบ ค. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2548
9. หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป
ก. เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน ข. เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ
ค. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
10. “ประกาศ” จัดเป็นหนังสือชนิดใด
ก. หนังสือสั่งการ ข. หนังสือแถลงข่าว
ค. หนังสือแถลงการณ์ ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
ตอบ ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
11. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณ โดยเจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็วนั้นจะต้องระบุตัวอักษรสีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือและบนซองว่าอย่างไร
ก. ด่วน ข. ด่วนที่สุด
ค. ด่วนมาก ง. ด่วนภายใน
ตอบ ค. ด่วนมาก
12. หนังสือที่ต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ ตรงกับข้อใด
ก. ด่วนมาก,ด้วนเฉพาะ และ ด่วนที่สุด
ข. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และ ด่วนที่สุด
ค. ด่วนภายในวันเวลาที่กำหนด และด่วนเฉพาะ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และ ด่วนที่สุด
13. อายุของการเก็บหนังสือ มีวิธีการปฏิบัติตามข้อใด
ก. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินทุกกรณี ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ข. หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ค. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่
น้อยกว่า 5 ปี
ง. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จให้เก็บ
รักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี
ตอบ ค. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
14. การลงวัน เดือน ปี ของหนังสือติดต่อราชการให้ปฏิบัติตามข้อใด
ก. หนังสือภายนอก ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลข ของปีพุทธศักราชที่ออก
หนังสือ
ข. ส่วนหนังสือภายใน ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อย่อของเดือนและตัวเลขของปีพุทธศักราชที่
ออกหนังสือ
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
15. รหัสตัวพยัญชนะหรับสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและสำนักงานเลขาธิการรัฐสภากำหนดไว้ตามข้อใด
ก. สด และ สภ ข. ตง และ รส
ค. ตผ และ สภ ง. สตง และ สลร
ตอบ ค. ตผ และ สภ
16. คำสรรพนามสำหรับเจ้าของหนังสือว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจากใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินีนาถ แล้วยังใช้ได้ตามข้อใด
ก. สมเด็จพระบรมราชชนนี
ข. พระบรมวงศ์เธอชั้นพระองค์เจ้า
ค. สมเด็จพระยุพราช และ สมเด็จเจ้าฟ้าทุกพระองค์
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
17. คำว่า “คำสั่ง” มีความหมายตรงตามข้อใด
ก. คำสั่งด้วยวาจา, คำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร และคำสั่งที่บันทึกถึงตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ
ข. การสั่งด้วยการบันทึกทางจดหมาย และด้วยสื่อนำสาร
ค. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
ง. การกระทำด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่พบเพื่อสั่งการแต่ละเรื่อง
ตอบ ค. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
18. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
ก. เลขาธิการ ก.พ.
ข. ปลัดสำนักนายยกรัฐมนตรี
ค. เลขาคณะรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ข. ปลัดสำนักนายยกรัฐมนตรี
19. หนังสือที่ปฏิวัติให้เร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็น
ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ข. 3 ประเภท
20. เพื่อให้หน่วยราชการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยอย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึงให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติอย่างไร
ก. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ข้างบน
ข. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ในที่ที่เห็นชัดเจน
ค. ไม่ต้องพิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ก็ได้ เพราะได้ประทับตรายาง “ด่วน” อยู่แล้ว
ง. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยเจ้าของเรื่อง ไว้ใต้ชื่อหน่วยงานที่มุมล่างซ้ายของหนังสือ ราชการ
ตอบ ง. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยเจ้าของเรื่อง ไว้ใต้ชื่อหน่วยงานที่มุมล่างซ้ายของหนังสือราชการ
21. ทะเบียนงานสารบรรณมี 3 ประเภท คือข้อใด
ก. ทะเบียนรับ,ทะเบียนส่ง และทะเบียนเก็บ
ข. ทะเบียนรับส่ง, ทะเบียนแยกเรื่อง,และทะเบียนย่อเรื่อง
ค. ทะเบียนเก็บหนังสือ, ทะเบียนรับ-ส่ง และ ทะเบียนรายชื่อข้าราชการ
ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ก. ทะเบียนรับ,ทะเบียนส่ง และทะเบียนเก็บ
22. ผู้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับระเบียนสำนักงานรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณได้แก่บุคคลใด
ก. ปลัดกระทรวง ข. สำนักงาน ก.พ.
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. หัวหน้าส่วนราชการนั้นๆ
ตอบ ก. ปลัดกระทรวง
23. หนังสือภายใน คือหนังสืออะไร
ก. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี
ข. หนังสือที่ไม่เป็นแบบพิธีซึ่งใช้ภายในวงงานเดียวกัน
ค. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยและเป็นหนังสือใช้ติดต่อภายใน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยและเป็นหนังสือใช้ติดต่อภายใน
24. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สำรวจหนังสือที่ครบกำหนดอายุการเก็บในปีนั้น หลังวันสิ้นปีปฏิทินภายในกี่วัน
ก. 30 วัน ข. 45 วัน
ค. 60 วัน ง. 90 วัน
ตอบ ค. 60 วัน
25. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำเมื่อดำเนินการแล้วเสร็จให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
ก. 1 ปี ข. 2 ปี
ค. 3 ปี ง. กี่ปีก็ได้
ตอบ ก. 1 ปี
26. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งให้ผู้ใดรักษาราชการแทน
ก. อธิบดีหรือเทียบเท่า ข. รองอธิบดีหรือเทียบเท่า
ค. หัวหน้ากองหรือเทียบเท่า ง. ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า
ตอบ ง. ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า
27. ในกรณีนายกรัฐมนตรีตายหรือขาดคุณสมบัติ คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติ
ก. ทำการแทน ข. ปฏิบัติหน้าที่แทน
ค. รักษาการแทน ง. ปฏิบัติราชการแทน
ตอบ ข. ปฏิบัติหน้าที่แทน
28. ซองหนังสือมีขนาดใดบ้าง
ก. เอ 3 , เอ 4 , เอ 5 และ ดีแอล ข. เอ 4, เอ 5, และ ดีแอล
ค. ซี 4 , ซี 5 , ซี 6 และดีแอล ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ค. ซี 4 , ซี 5 , ซี 6 และดีแอล
29. หนังสือภายนอก คือหนังสืออย่างไร
ก. ติดต่อส่วนราชการ
ข. ติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี
ค. ติดต่อระหว่างส่วนราชการกับหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ราชการ
ง. ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
30. ระเบียบงานสารบรรณเป็นระเบียบที่ออกจากหน่วยงานใด
ก. ก.พ. ข. กระทรวงศึกษาธิการ
ค. กระทรวงมหาดไทย ง. สำนักงานรัฐมนตรี
ตอบ ง. สำนักงานรัฐมนตรี
31. ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือภายนอก
ก. วัน เดือน ปี ไม่ต้องใช้คำว่า วันที่
ข. ตำแหน่งใช้ตำแหน่งเจ้าของหนังสือ
ค. ที่ให้ลงรหัสพยัญชนะและเลขประจำตัวของเจ้าของเรื่อง
ง. ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
32. เพราะเหตุใดจึงต้องมีระเบียบงานสารบรรณ
ก. เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนรู้
ข. เพื่อให้เจ้าหน้าที่รู้จักปฏิบัติงานเกี่ยวกับหนังสือ
ค. เพื่อความสะดวกแก่ผู้บังคับบัญชาในการควบคุมงาน
ง. เพื่อให้มีระเบียบเป็นหลักในการปฏิบัติงานบริหารงานด้านเอกสาร
ตอบ ง. เพื่อให้มีระเบียบเป็นหลักในการปฏิบัติงานบริหารงานด้านเอกสาร
33. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ เป็นหนังสือของส่วนราชการระดับใดขึ้นไป
ก. ระดับกอง ข. ระดับกรม
ค. ระดับแผนก ง. ระดับกระทรวง
ตอบ ข. ระดับกรม
34. ตามระเบียบงานสารบรรณ “ส่วนราชการ” หมายความว่าอย่างไร
ก. กระทรวง ทบวง ข. กรม กอง
ค. หน่วยงานทั้งหมดของรัฐ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
35. ระเบียบงานสารบรรณคืองานที่เกี่ยวกับอะไร
ก. งานที่เกี่ยวกับหนังสือ ข. งานที่เกี่ยวกับเอกสาร
ค. งานที่เกี่ยวกับการจัดสำนักงาน ง. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
ตอบ ง. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
36. หนังสือภายในคือหนังสือที่………
ก. เป็นหนังสือที่ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
ข. ใช้ภายในกระทรวง ทบวง กรมหรือจังหวัดเดียวกัน
ค. ติดต่อราชการที่เป็นพิธีการน้อยกว่าหนังสือภายนอก
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
37. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการลงวันที่ในหนังสือภายใน
ก. 2 มิ.ย. 2527 ข. 2 มิถุนายน 2527
ค. วันที่ 2 มิถุนายน 2527 ง. 2 มิถุนายน 2527
ตอบ ข. 2 มิถุนายน 2527
38. ตามระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 คำว่า “หนังสือราชการ” หมายความว่าอย่างไร
ก. หนังสือที่มีตราครุฑทุกประเภท
ข. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
ค. เอกสารที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
ง. เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
ตอบ ข. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
39. ข้อใดคือความมุ่งหมายของหนังสือประทับตรา
ก. เพื่อความสะดวกในการส่งไปถึงผู้รับ
ข. เพื่อให้การดำเนินงานด้านเอกสารเป็นระเบียบ
ค. เพื่อแบ่งเบาภาระในการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการ
ง. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สารบรรณสามารถประทับตราหนังสือออกได้
ตอบ ค. เพื่อแบ่งเบาภาระในการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการ
40. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
ก. คำสั่ง ข. ระเบียบ
ค. ข้อบังคับ ง. แถลงการณ์
ตอบ ง. แถลงการณ์
41. บรรดาข้อความที่มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นประจำเรียกว่าอะไร
ก. คำสั่ง ข. ระเบียบ
ค. ข้อบังคับ ง. ประกาศ
ตอบ ข. ระเบียบ
42. บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบหรือแนะแนวทางปฏิบัติตรงกับ ข้อใด
ก. ข่าว ข. ระเบียบ
ค. ประกาศ ง. ประกาศ
ตอบ ค. ประกาศ
43. หนังสือชนิดใดที่ระเบียบงานสารบรรณไม่ได้กำหนดให้ใช้กระดาษตราครุฑ
ก. ข่าว ข. ประกาศ
ค. ระเบียบ ง. แถลงการณ์
ตอบ ก. ข่าว
44. หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้แก่ผู้ใด
ก. บุคคล ข. นิติบุคคล
ค. หน่วยงาน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
45. รายงานการประชุมมีความหมายตามข้อใด
ก. บันทึกความเห็นของผู้มาประชุม
ข. บันทึกมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน
ค. บันทึกทุกอย่างเกี่ยวกับเรื่องที่ประชุม
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
46. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติทันทีที่ได้รับคือหนังสือประเภทใด
ก. ด่วนมาก ข. ด่วน
ค. ด่วนที่สุด ง. ลับ
ตอบ ค. ด่วนที่สุด
47. ข้อใดถูก
ก. บุคคลภายนอกจะยืมหนังสือไม่ได้
ข. บุคคลภายนอกจะขอดูหนังสือไม่ได้ ต่อเมื่อได้รับอนุญาตเท่านั้น
ค. บุคคลภายนอกจะคัดลอกหนังสือไม่ได้เลย
ง. บุคคลภายนอกไม่มีสิทธิดูหรือคัดลอกหนังสือราชการ
ตอบ ก. บุคคลภายนอกจะยืมหนังสือไม่ได้
48. โดยปกติหนังสือราชการที่จัดทำขึ้นจะต้องมีสำเนาคู่ฉบับอย่างน้อยกี่ฉบับ
ก. 1 ฉบับ ข. 2 ฉบับ
ค. 3 ฉบับ ง. 4 ฉบับ
ตอบ ก. 1 ฉบับ
49. ผู้รับรอง “สำเนาถูกต้อง” จะต้องเป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับใดขึ้นไป
ก. ระดับ 2 ข. ระดับ 3
ค. ระดับ 4 ง. ระดับ 5
ตอบ ก. ระดับ 2
50. หนังสือประเภทใดต่อไปนี้ที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป
ก. สถิติ ข. ประวัติศาสตร์
ค. หลักฐานการเงิน ง. ถูกทั้งข้อ ก ข้อ ข และ ข้อ ค
ตอบ ข. ประวัติศาสตร์
51. การยืมหนังสือ จะให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือได้หรือไหม
ก. ได้ แต่ต้อง75. เก็บประจำตัวประชาชนไว้
ข. ได้ แต่ต้อง77. มัดจำค่ายืมหนัง78. สือ
ค. ไม่ได้ ยกเว้นแต่จะให้คัดลอกหนัง80. สือ
ง. ไม่ได้ ยกเว้นแต่จะให้บุคคลภายในยืมหนัง82. สือให้
ตอบ ค. ไม่ได้ ยกเว้นแต่จะให้คัดลอกหนังสือ
52. สำเนาคู่ฉบับ ต้องมีคำว่าอะไรอยู่บนกึ่งกลางหน้ากระดาษ
ก. สำเนาคู่ฉบับ ข. สำเนา
ค. คู่สำเนา ง. ไม่มีคำว่าอะไรปรากฏ
ตอบ ก. สำเนาคู่ฉบับ
53. ราชบัณฑิตยสถาน ใช้ชื่อย่อว่าอะไร
ก. รบส. ข. รบถ.
ค. รบ. ง. รถ.
ตอบ ง. รถ.
54. ข้อใดหมายถึงงานสารบรรณ
ก. การรับ-ส่ง129. เอกสาร ข. การเก็บรักษาเอกสาร
ค. การยืมเอกสาร ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
55. กระดาษบันทึกข้อความ ใช้กับหนังสือประเภทใด
ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือภายนอก
ค. หนังสือราชการ ง. หนังสือราชการลับ
ตอบ ก. หนังสือภายใน
56. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องมีในรายงานการประชุม
ก. เริ่มประชุมเวลา ข. ผู้มาร่วมประชุม
ค. ผู้ไม่เข้าร่วมประชุม ง. ผู้ไม่มาร่วมประชุม
ตอบ ค. ผู้ไม่เข้าร่วมประชุม
57. ข้อปฏิบัติ ถ้าหนังสือมีชั้นความเร็วเป็น “ด่วน” คืออะไร
ก. ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
ข. ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
ค. ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้
58. หนังสือถึงนายกรัฐมนตรี
ก. เรียน ข. กราบเรียน
ค. ด้วยความเคารพ ง. ด้วยความนับถือ
ตอบ ข. กราบเรียน
59. หนังสือที่กำกับเวลาการส่งว่าด่วนมากควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับปฏิบัติโดยเร็ว
ข. ให้เจ้าหน้าที่ผู้ส่ง311. ปฏิบัติโดยเร็ว
ค. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับปฏิบัติเร็วที่สุด เท่าที่จะเร็วได้
ง. ให้เจ้าหน้าที่ผู้ส่ง314. ปฏิบัติเร็วที่สุด เท่าที่จะเร็วได้
ตอบ ก. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับปฏิบัติโดยเร็ว
60. เมื่อได้รับแจ้งข่าวสารผ่านโทรเลข โทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิคส์จะต้องทำอย่างไร
ก. รีบแจ้งหัวหน้างาน
ข. ส่งเป็นหนังสือตอบกลับว่ารับทราบ
ค. บันทึกไว้เป็นหลักฐาน
ง. สอบถามชื่อของผู้ส่งข่าวสาร
ตอบ ค. บันทึกไว้เป็นหลักฐาน
61. หนังสือที่ต้องประทับตราคือข้อใด
ก. หนังสือราชการ ข. หนังสือภายนอก
ค. หนังสือภายใน ง. หนังสือรับรอง
ตอบ ง. หนังสือรับรอง
62. สำเนาคู่ฉบับมีคำว่าอะไรอยู่บนกึ่งกลางหนังสือ
ก. ผู้ร่าง ข. ผู้พิมพ์
ค. ผู้ตรวจ ง. ไม่ต้องมีอะไร
ตอบ ง. ไม่ต้องมีอะไร
63. ส่วนราชการจะปฏิบัติการนอกเหนือจากระเบียบจะต้องได้รับอนุญาตจากใคร
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. สำนักนายกรัฐมมนตรี
ตอบ ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
64. บัญชีหนังสือที่ครบกำหนดทำลายให้ส่งที่ใด
ก. หอจดหมายเหตุ ข. หอสมุดแห่งชาติ
ค. พิพิธภัณฑ์ ง. ครุภัณฑ์
ตอบ ข. หอสมุดแห่งชาติ
65. หนังสือราชการกี่ชนิด
ก. 3 ชนิด ข. 4 ชนิด
ค. 5 ชนิด ง. 6 ชนิด
ตอบ ง. 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ์ 6. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
66. ข้อใด ไม่ใช่ หนังสือราชการ
ก. หนังสือภายนอก ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือประทับตรา ง.บันทึกความ
ตอบ ง.บันทึกความ
67. งานสารบรณ ตาม พ.ศ. 2526 หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารเอกสารเริ่มตั้งแต่
ก. จัด ข.ยืม
ค. ส่ง ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
68. ข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่อยู่ในแบบหนังสือภายใน
ก. อ้างถึง ข. สิ่งที่ส่งมาด้วย
ค. คำลงท้าย ง. ทุกข้อไม่อยู่ในแบบ
ตอบ ง.ทุกข้อไม่อยู่ในแบบ
69. โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึ้นไป ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องในระดับใด
ก. กองและแผนก ข. กรมและแผนก
ค. กรมและหน่วยงาน ง. กรมและกอง
ตอบ ง.กรมและกอง
70. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ำกว่ากรมลงมาให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับใด
ก. กอง ข. กรม
ค. แผนก ง. กระทรวง
ตอบ ก.กอง
71. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหนังสือที่อยู่ในส่วนที่ 2 ของงานสารบรรณฯ
ก. หนังสือภายนอก
ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
ตอบ ข.หนังสือภายใน
72. หนังสือรับรองเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายของผู้ที่ได้รับการรับรอง มีขนาดเท่าไร
ก. 2 3 ซ.ม. ข. 4 6 ซ.ม.
ค. 5 9 ซ.ม. ง. 6 9 ซ.ม.
ตอบ ข.4 6 ซ.ม.
73. หนังสือเวียนคือหนังสือที่มาถึงผู้รับจำนวนมากมีข้อความอย่างเดียวกันให้เพิ่มเติมรหัสพยัญชนะตัว ว ไว้ที่ใด
ก. มุมของด้านขวา ข. หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง
ค. บริเวณใดก็ได้ ขอให้ผู้รับเห็นชัดเจน ง. หลังเลขทะเบียนหนังสือส่ง
ตอบ ข.หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง
74. มท. เป็นรหัสพยัญชนะประจำกระทรวงที่มีหน้าที่หลักในเรื่องใด
ก. ดูแลความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
ข. ป้องกันการรุกรานจากต่างประเทศ
ค. การคมนาคมทั้งทางบก-เรือ และอากาศ
ง. การแพทย์-พยาบาล และสุขภาพอนามัยของประชาชน
ตอบ ก.ดูแลความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ
75. กห. เป็นรหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวงที่มีหน้าที่หลักในเรื่องใด
ก. ป้องกันการรุกรานจากต่างประเทศ
ข. ให้การศึกษาแก่ประชาชนในชาติระดับอุดมศึกษา
ค. ให้ความเป็นธรรมและยุติธรรม
ง. การแพทย์-พยาบาล และสุขภาพอนามัยของประชาชน
ตอบ ก.ป้องกันการรุกรานจากต่างประเทศ
76. รย. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางภาคไหนของประเทศไทย
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคตะวันออก ง. ภาคใต้
ตอบ ค.ภาคตะวันออก
77. ภก. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางไหนของประเทศไทย
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ง. ภาคใต้
ตอบ ง.ภาคใต้
78. ชม. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางไหนของประเทศไทย
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคใต้ ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอบ ก.ภาคเหนือ
79. หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
ก. ถึง ข. เรียน
ค. กราบเรียน ง. ขึ้นต้นตามข้อใดก็ได้
ตอบ ค.กราบเรียน
80. หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
ก. ทูล ข. กราบทูล
ค. นมัสการ ง. ขอประทานกราบทูล
ตอบ ง.ขอประทานกราบทูล
81. หนังสือราชการถึงบุคคลธรรมดาใช้สรรพนามอย่างไร
ก. ข้าพเจ้า ข. กระผม ผม
ค. ดิฉัน ท่าน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
82. หนังสือที่ใช้สำหรับยืนยันข้อความในเรื่องที่ได้สนทนา คือหนังสือชนิดใด
ก. บันทึก (Memorandum) ข. บันทึกช่วยจำ (Aide Memories)
ค. หนังสือกลาง (Note Verbal) ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ข.บันทึกช่วยจำ (Aide Memories)
83. หนังสือราชการภาษาอังกฤษที่ลงชื่อ คือหนังสือตามข้อใด
ก. หนังสือราชการที่เป็นพิธี (First Person Formal Note)
ข. หนังสือราชการที่ไม่เป็นแบบพิธี (First Person Informal Note)
ค. หนังสือกลาง (Third Person Note หรือ Note Verbal)
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
ตอบ ง.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
84. งานสารบรรณ คือข้อใดต่อไปนี้
ก. งานที่ว่าด้วยหนังสือ ข. งานที่ว่าด้วยการเก็บหลักฐาน
ค. งานที่ว่าด้วยการรับส่งหนังสือ ง. งานที่หน่วยงานราชการจำเป็นต้องมีขึ้น
ตอบ ก.งานที่ว่าด้วยหนังสือ
85. หนังสือราชการมี
ก. 4 ชนิด ข. 5 ชนิด
ค. 6 ชนิด ง. 7 ชนิด
ตอบ ค.6 ชนิด
86. การจดบันทึกหรือรายงานการประชุม จะกระทำได้กี่วิธี
ก. 4 ชนิด ข. 5 ชนิด
ค. 6 ชนิด ง. 7 ชนิด
ตอบ ข.5 ชนิด
87. หนังสือราชการ คือ
ก. หนังสือสั่งราชการ ข. หนังสือที่ประทับตราแทนชื่อ
ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่ลง วัน เวลา ตามแบบสากล
ตอบ ค.เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
88. หนังสือราชการที่มีความสำคัญสูงสุด เป็นหนังสือราชการประเภทใด
ก. ลับ ข. ปกติ
ค. ลับที่สุด ง. ลับมาก
ตอบ ค.ลับที่สุด
89. เมื่อได้ส่งข้อความทางโทรศัพท์ โทรเลข หรือวิทยุแล้ว
ก. ไม่ต้องส่งหนังสือนั้นตามไป
ข. ต้องส่งหนังสือนั้นตามไปเพื่อเป็นหลักฐานยืนยัน
ค. ถือว่าโทรศัพท์ โทรเลข หรือวิทยุ นั้นเป็นหลักฐานยืนยัน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ข.ต้องส่งหนังสือนั้นตามไปเพื่อเป็นหลักฐานยืนยัน
90. หนังสือราชการที่จำเป็นจะต้องแจ้งให้ผู้รับทราบด่วน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. โทรศัพท์ ข. โทรเลข
ค. วิทยุสื่อสาร ง. วิทยุโทรทัศน์
ตอบ ง.วิทยุโทรทัศน์
91. เกี่ยวกับการพิมพ์ วัน เดือน พ.ศ. ถ้าเป็นวันที่ 31 กรกฎาคม 2511 ให้พิมพ์ว่า
ก. 5 ม.ค. 44 ข. วันที่ 5 มกราคม 44
ค. 31 กรกฎาคม 2511 ง. วันที่ 5 เดือนมกราคม พุทธศักราช 2544
ตอบ ค.31 กรกฎาคม 2511
92. ใครเป็นผู้วางระเบียบงานสารบรรณ
ก. กระทรวงมหาดไทย ข. คณะรัฐมนตรี
ค. สำนักนายกรัฐมนตรี ง. กระทรวงศึกษาธิการ
ตอบ ข.คณะรัฐมนตรี
93. ข้อใดมีความสัมพันธ์กับงานสารบรรณมากที่สุด
ก. งานการเงิน ข. งานเกี่ยวกับการจัดสำนักงาน
ค. งานธุรการและผลิตเอกสาร ง. งานเกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
ตอบ ง.งานเกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
94. “ส่วนราชการ” ตามระเบียบงานสารบรรณหมายความว่าอย่างไร
ก. คณะกรรมการ ข. ทบวง
ค. กระทรวง ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
95. หนังสือที่ติดต่อระหว่างกระทรวง หรือส่วนราชการต่างกระทรวง หรือส่วนราชการถึงบุคคลภายนอก เรียกว่า หนังสือประเภทใด
ก. หนังสือประทับตรา ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือภายนอก ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
ตอบ ค.หนังสือภายนอก
96. ข้อใดเรียกว่า “หนังสือภายใน”
ก. เป็นหนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน ข. เป็นหนังสือที่ติดต่อในจังหวัดเดียวกัน
ค. เป็นหนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
97. อำนาจของผู้ทำหนังสือราชการลับมากคือข้อใด
ก. ข้าราชการตั้งแต่หัวหน้าคณะทูต ผบ.ตร.
ข. ข้าราชการตำแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า
ค. ข้าราชการตำแหน่งหัวหน้าแผนกหรือเทียบเท่า
ง. หัวหน้าส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อหน่วยนั้นๆ
ตอบ ข.ข้าราชการตำแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า
98. ข้อใดต่อไปนี้อาจไม่มีในหนังสือราชการ
ก. เรื่อง ข. วัน เดือน ปี ที่ออกหนังสือ
ค. คำขึ้นต้นและคำลงท้าย ง. อ้างถึงและสิ่งที่ส่งมาด้วย
ตอบ ง.อ้างถึงและสิ่งที่ส่งมาด้วย
99. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอกจัดเป็นหนังสือประเภทใด
ก. หนังสือภายนอก ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือประทับตรา ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
ตอบ ก.หนังสือภายนอก
100. ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
ก. มีความรู้ภาษาไทย ข. มีความสุขุม ละเอียด และรอบคอบ
ค. ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง ง. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
ตอบ ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
101. งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
ก. ทำให้งานสะดวก รวดเร็ว ข. ประหยัดแรงงานและเวลา
ค. ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพสูง ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
102. หนังสือที่ผู้กำกับการมีไปถึงผู้ว่าราชการจังหวัดต้องใช้คำลงท้าย
ก. ขอแสดงความนับถือ ข. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ค. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ง. ด้วยความเคารพอย่างสูง
ตอบ ค.ขอแสดงความนับถืออย่างสูง
103. คำขึ้นต้นคำว่า กราบเรียน ผู้รับได้แก่
ก. นายกรัฐมนตรี ข. ประธานองคมนตรี
ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎร ง. ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกหมดทุกข้อ
104. “หนังสือประทับตรา” ใช้กระดาษอะไร
ก. กระดาษอัดสำเนา ข. กระดาษตราครุฑ
ค. กระดาษบันทึกข้อความ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.กระดาษตราครุฑ
105. หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวง คือ
ก. หนังสือสั่งการ ข. หนังสือราชการ
ค. หนังสือภายนอก ง. หนังสือจากหน่วยนอก
ตอบ ค.หนังสือภายนอก
106. กรณีตัวบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งจริง ได้มีการแต่งตั้งมอบหมายงานให้บุคคลอื่น ต้องใช้คำลงท้ายในหนังสือราชการว่า
ก. ทำการแทน ข. รักษาการในตำแหน่ง
ค. สั่งราชการแทน ง. รักษาราชการแทน
ตอบ ง.รักษาราชการแทน
107. ระเบียบงานสารบรรณของสำนักนายกรัฐมนตรี จากฉบับที่ พ.ศ. 2526 แล้ว มีประกาศเพิ่มเติมเมื่อไรอีก
ก. มีนาคม 2534 ข. เมษายน 2533
ค. กุมภาพันธ์ 2545 ง. กันยายน 2548
ตอบ ง.กันยายน 2548
108. การเขียนวันที่ในหนังสือภายใน ข้อใดถูกต้อง
ก. 11 ก.ค. 41 ข. 10 ก.ค. 2541
ค. 14 กุมภาพันธ์ 2545 ง. วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2541
ตอบ ค.14 กุมภาพันธ์ 2545
109. หนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
ก. เรียน ข. กราบเรียน
ค. กราบทูล ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.เรียน
110. แถลงการณ์ เป็นหนังสือประเภทใด
ก. ภายนอก ข. ประทับตรา
ค. ประชาสัมพันธ์ ง. หนังสือสั่งการ
ตอบ ค.ประชาสัมพันธ์
111. ข้อใดกล่าวถึงแถลงการณ์ได้ถูกต้อง
ก. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจกรรมของทางราชการ
ข. ใช้กระดาษตราครุฑ
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ค.ถูกทั้ง ก. และ ข.
112. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นการประจำ
เรียกว่า
ก. ข้อบังคับ ข. ระเบียบ
ค. คำสั่ง ง. กฎกระทรวง
ตอบ ข. ระเบียบ
113. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบโดยทั่วไปเรียกว่าอะไร
ก. แถลงการณ์ ข. ระเบียบ
ค. ประชาสัมพันธ์ ง. ประกาศ
ตอบ ง.ประกาศ
114. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนได้ทราบทั่วไป เรียกว่าอะไร
ก. ข่าว ข. คำสั่ง
ค. แถลงการณ์ ง. ประกาศ
ตอบ ก.ข่าว
115. ถ้าเป็นเรื่องที่ย่อ เป็นหนังสือราชการ มีหลักดังนี้
ก. จดหมายของ – ในโอกาส – ลงวันที่ ข. จดหมายของ – เรื่อง – ลงวันที่
ค. จดหมายของ – แก่ – ลงวันที่ ง. จดหมายของ – ถึง – ลงวันที่
ตอบ ข.จดหมายของ – เรื่อง – ลงวันที่
116. หนังสือราชการภายนอก คือข้อใด
ก. หนังสือที่เป็นหลักฐานทางราชการ
ข. หนังสือราชการหรือเอกสารทางราชการ
ค. หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวงหรือส่วนราชการ
ง. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชารกระทรวงเดียวกัน
ตอบ ค.หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวงหรือส่วนราชการ
117. หนังสือราชการภายใน หมายถึงข้อใด
ก. หนังสือที่เป็นหลักฐานทางราชการ
ข. หนังสือราชการหรือเอกสารทางราชการ
ค. หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวงหรือส่วนราชการ
ง. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการกระทรวงเดียวกัน
ตอบ ง.หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการกระทรวงเดียวกัน